ReadyPlanet.com
dot
สินค้า/บริการ
dot
bulletBook - หนังสือ
bulletBusiness Cards - นามบัตร
bulletCatalogs - แคตตาล็อก
bulletCalenders - ปฏิทิน
bulletPresentation Folder - แฟ้ม
bulletBrochures - โบว์ชัวร์ แผ่นพับ
bulletSticker - ฉลากสินค้า
bulletBox, Bag - กล่อง , ถุง
bulletBill - เอกสารต่าง ๆ
bulletดิจิตอลพริ้น - พิมพ์จำนวนน้อย
bulletหนังสือสวดมนต์
bulletMenu - เมนูอาหาร
bulletBarcode - บาร์โค้ด
bulletแยกสี/ออกฟิล์ม
bulletซอง-หัวจดหมาย




ของตีพิมพ์ คืออะไร ?

     

          คำถามข้างต้นมักได้ยินจากลูกค้าหลายๆ ท่านที่สงสัยว่า ของตีพิมพ์ คือ สิ่งของประเภทใด ต้องทำอย่างไรถึงจะฝากส่งเป็นประเภทของตีพิมพ์ได้

          “ของตีพิมพ์ตามความหมายในไปรษณีย์นิเทศ พ.ศ. 2549 คือ ไปรษณียภัณฑ์ที่มีลักษณะเป็นข้อความ รูป หรือรอยประดิษฐ์บนกระดาษ กระดาษแข็ง หรือวัสดุที่ใช้กันโดยทั่วไปในกิจการพิมพ์ซึ่งทำขึ้นเป็นหลายสำเนาเหมือนกันทุกประการ ด้วยกระบวนการทางเครื่องกลไก หรือถ่ายภาพอันเกี่ยวข้องกับการใช้แม่พิมพ์ต้นแบบ กระดาษไข เนกาทีฟ หรือสิ่งอื่นๆ ที่ใช้กันโดยทั่วไปในกิจการพิมพ์ ทั้งนี้ของตีพิมพ์ต้องห่อหุ้มในลักษณะที่สามารถเปิดตรวจดูสิ่งของภายในได้

          นอกจากความหมายตามข้างต้นแล้ว ของตีพิมพ์ต้องไม่มีข้อความหรือรายละเอียดอื่นใดที่ทีลักษณะเป็นข่าวสารส่วนตัว หรือสอดใส่เอกสารที่มีลักษณะเป็นข่าวสารส่วนตัว สิ่งของต่อไปนี้ก็ไม่สามารถฝากส่งเป็นของตีพิมพ์ได้เช่นกัน คือ ตราไปรษณียากร อากรแสตมป์ เช็ค ดร๊าฟท์ ตั๋วแลกเงิน สลากกินแบ่งรัฐบาล สลากออมสิน ฟิล์ม วัตถุบันทึกภาพและเสียง กระดาษเปล่า สมุดบันทึก ซองจดหมาย ชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์ที่ส่งเพื่อวัตถุประสงค์ในการชิงโชค เป็นต้น นอกจากนั้น ของตีพิมพ์ต้องหุ้มห่อให้เจ้าหน้าที่สามารถเปิดตรวจดูสิ่งของที่บรรจุภายในได้โดยไม่เสียสภาพห่อซอง

           หากต้องการสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถสอยถามได้ที่ ณ ที่ทำการไปรษณีย์ทุกแห่ง หรือ call center : 1545

 

 

 

 

 

 

 

 
คำถามข้างต้นมักได้ยินจากลูกค้าหลายๆ ท่านที่สงสัยว่า ของตีพิมพ์ คือ สิ่งของประเภทใด ต้องทำอย่างไรถึงจะฝากส่งเป็นประเภทของตีพิมพ์ได้           “ของตีพิมพ์” ตามความหมายในไปรษณีย์นิเทศ พ.ศ. 2549 คือ ไปรษณียภัณฑ์ที่มีลักษณะเป็นข้อความ รูป หรือรอยประดิษฐ์บนกระดาษ กระดาษแข็ง หรือวัสดุที่ใช้กันโดยทั่วไปในกิจการพิมพ์ซึ่งทำขึ้นเป็นหลายสำเนาเหมือนกันทุกประการ ด้วยกระบวนการทางเครื่องกลไก หรือถ่ายภาพอันเกี่ยวข้องกับการใช้แม่พิมพ์ต้นแบบ กระดาษไข เนกาทีฟ หรือสิ่งอื่นๆ ที่ใช้กันโดยทั่วไปในกิจการพิมพ์ ทั้งนี้ของตีพิมพ์ต้องห่อหุ้มในลักษณะที่สามารถเปิดตรวจดูสิ่งของภายในได้           นอกจากความหมายตามข้างต้นแล้ว ของตีพิมพ์ต้องไม่มีข้อความหรือรายละเอียดอื่นใดที่ทีลักษณะเป็นข่าวสารส่วนตัว หรือสอดใส่เอกสารที่มีลักษณะเป็นข่าวสารส่วนตัว สิ่งของต่อไปนี้ก็ไม่สามารถฝากส่งเป็นของตีพิมพ์ได้เช่นกัน คือ ตราไปรษณียากร อากรแสตมป์ เช็ค ดร๊าฟท์ ตั๋วแลกเงิน สลากกินแบ่งรัฐบาล สลากออมสิน ฟิล์ม วัตถุบันทึกภาพและเสียง กระดาษเปล่า สมุดบันทึก ซองจดหมาย ชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์ที่ส่งเพื่อวัตถุประสงค์ในการชิงโชค เป็นต้น นอกจากนั้น ของตีพิมพ์ต้องหุ้มห่อให้เจ้าหน้าที่สามารถเปิดตรวจดูสิ่งของที่บรรจุภายในได้โดยไม่เสียสภาพห่อซอง            หากต้องการสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถสอยถ
 



บทความน่ารู้ ในวงการพิมพ์

ทำไมสีงานสิ่งพิมพ์ ถึงไม่เหมือนหน้าจอ Computer?
Barcode คืออะไร ?
สเปกทั่วไปของงานพิมพ์
พระนามบัตร ในหลวง
กระดาษขนาดต่างๆ
การสร้างไฟล์ PDF/X
กระดาษที่ใช้ในโรงพิมพ์
10 ปัญหาของไฟล์ต้นฉบับ PDF article
กว่าจะเป็นหนังสือหนึ่งเล่ม
การเข้าเล่มมีกี่วิธี
SAL เมล์อากาศแบบประหยัด