ReadyPlanet.com
dot
สินค้า/บริการ
dot
bulletBook - หนังสือ
bulletBusiness Cards - นามบัตร
bulletCatalogs - แคตตาล็อก
bulletCalenders - ปฏิทิน
bulletPresentation Folder - แฟ้ม
bulletBrochures - โบว์ชัวร์ แผ่นพับ
bulletSticker - ฉลากสินค้า
bulletBox, Bag - กล่อง , ถุง
bulletBill - เอกสารต่าง ๆ
bulletดิจิตอลพริ้น - พิมพ์จำนวนน้อย
bulletหนังสือสวดมนต์
bulletMenu - เมนูอาหาร
bulletBarcode - บาร์โค้ด
bulletแยกสี/ออกฟิล์ม
bulletซอง-หัวจดหมาย




บทความน่ารู้ ในวงการพิมพ์


ทำไมสีงานสิ่งพิมพ์ ถึงไม่เหมือนหน้าจอ Computer?

ทำไมสีงานสิ่งพิมพ์ ถึงไม่เหมือนหน้าจอ Computer 

ALL IN ONE PRINTING·

 

เชื่อว่าหลายๆ ท่านคงประสบปัญหานี้แน่นอน งั้นเรามาดูกันว่าเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น?

สาเหตุนั่นเกิดจากความแตกต่างของระบบการแสดงผลของสีนั่นเอง อย่างแรก

 

Barcode คืออะไร ?

บาร์โค้ด(barcode) หรือในภาษาไทยเรียกว่า “รหัสแท่ง” ประกอบด้วยเส้นมืดประกอบด้วยเส้นมืด(มักจะเป็นสีดำ) และเส้นสว่าง(มักเป็นสีขาว)วางเรียงกันเป็นแนวดิ่ง เป็นรหัสแทนตัวเลขและตัวอักษร ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านรหัสข้อมูลได้ง่ายขึ้น โดยใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Barcode Scanner) ซึ่งจะทำงานได้รวดเร็วและช่วยลดความผิดพลาดในการคีย์ข้อมูลได้มาก บาร์โค้ดเริ่มกำเนิดขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1950 โดยประเทศสหรัฐอเมริกา

แบบการพับกระดาษสเปกทั่วไปของงานพิมพ์

ผมได้ลองสรุปงานพิมพ์ที่มีสเปกให้เลือกหลายๆ แบบตามที่ลูกค้าปกติมักจะสั่ง ดังต่อไปนี้

 

 

 
 

 

พระนามบัตร ในหลวง

จากบทสัมภาษณ์ของคุณฮิโรมิ อินาโยชิ นักออกแบบชาวญี่ปุ่น ซึ่งเป็นผู้ออกแบบพระนามบัตรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ชุดที่ท่านผู้อ่านเห็นอยู่นี้ ในวารสาร “ในวงการพิมพ์” (THE THAI PRINTER) กล่าวไว้ว่า การได้รับโอกาสเป็นผู้ออกแบบ“พระนามบัตรในหลวง”นั้น มีที่มาจากการจัดนิทรรศการแสดงผลงานการออกแบบสัญลักษณ์และสี ในงานของสหประชาชาติ ณ โรงแรมพลาซ่าแอทธินี เมื่อปี พ.ศ. 2545 และมีบุคคลในสำนักพระราชวังไปเห็นฝีมือ จึงให้ความสนใจและหารือถึงการสร้างสรรค์ผลงานเพื่อถวายในหลวง เนื่องในวโรกาสครบรอบ 75 พรรษา โดยสรุปสุดท้ายที่การออกแบบนามบัตรจำนวน 4 แบบ ดังนี้

กระดาษขนาดต่างๆ

ISO 216 เป็นข้อกำหนดมาตรฐานสากลของ ISO ว่าด้วยขนาดกระดาษ ที่ใช้กันหลายประเทศในปัจจุบัน ซึ่งรวมไปถึงขนาดกระดาษที่คนรู้จักและนิยมใช้กันมากที่สุดคือ A4 มาตรฐานสากลนี้มีพื้นฐานมาจากสถาบันเยอรมันเพื่อการมาตรฐานแห่งประเทศเยอรมนี มาตรฐานรหัส 476 (DIN 476) ในปี พ.ศ. 2535

หน้า 1/3
1 2 3  [ถัดไป]
[Go to top]